1. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ. 4 ปี)
1. ศศ.บ. การจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ
2. ศศ.บ. ธุรกิจโรงแรมและที่พัก
3. ศศ.บ. การพัฒนาชุมชน
4. ศศ.บ. ภาษาจีน
5. ศศ.บ. ภาษาไทย
6. ศศ.บ. ภาษาอังกฤษ
7. ศศ.บ. ภาษาอังกฤษธุรกิจ
2. หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (รป.บ. 4 ปี)
8. รป.บ. การปกครองท้องถิ่น
9. รป.บ. รัฐประศาสนศาสตร์
3. หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต (ศป.บ. 4 ปี)
10. ศป.บ. ทัศนศิลป์
11. ศป.บ. ดนตรี
12. ศป.บ. นาฎศิลป์และการละคร
4. หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (ค.บ. 4 ปี)
13. ค.บ. ดนตรีศึกษา
14. ค.บ. ภาษาไทย
15. ค.บ. ภาษาอังกฤษและบรรณารักษศึกษา
5.หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต (ร.บ. 4 ปี)
16. ร.บ. การเมืองการปกครอง
– กลุ่มวิชาการจัดการนำเที่ยวและมัคคุเทศก์
– กลุ่มวิชาธุรกิจการบิน
– กลุ่มวิชาการจัดการอีเวนต์
– มัคคุเทศก์และผู้นำเที่ยว
– พนักงานสายการบิน
– พนักงานการท่าอากาศยาน
– นักวิชาการ ครู อาจารย์ด้านอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ
– นักออกแบบงานประชุม นิทรรศการและงานอีเวนต์
– พนักงานในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ
– เจ้าของธุรกิจในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและการบริการ”
เจ้าของธุรกิจบริการ
พนักงานบริการโรงแรม
พนักงานด้านอาหารและเครื่องดื่ม
อาจารย์ด้านการโรงแรม
พนักงานประชาสัมพันธ์และการตลาด
พนักงานต้อนรับภาคพื้นดิน
ประกอบอาชีพในด้านการรับราชการ
(1) พัฒนาการ พัฒนากร
(2) นักวิชาการพัฒนาชุมชน
(3) นักวิเคราะห์นโยบายและแผน
(4) นักพัฒนาสังคม
(5) ครู/อาจารย์สายสังคมศึกษา
ประกอบอาชีพในงานด้านเอกชน/องค์กรอิสระ
(1) ทำงานในองค์กรที่ทำงานร่วมกับภาคประชาชน
(2) นักวิจัยชุมชน
(3) นักพัฒนาบุคคล
(4) เจ้าหน้าที่ชุมชนสัมพันธ์ (CSR)
(5) นักกิจการเพื่อสังคม องค์กรพัฒนาเอกชน
(6) อาชีพอิสระ
– งานด้านวิชาการ เช่น นักวิชาการอิสระและผู้สอน ครูสอนภาษาจีน
– งานด้านวิชาชีพ เช่น นักแปล/ล่าม มัคคุเทศก์ (ต้องเข้ารับการอบรมมัคคุเทศก์) เลขานุการ
– งานด้านอุตสาหกรรมการบริการ เช่น พนักงานโรงแรมหรือบริษัทเอกชน
– พนักงานดูแลการให้บริการบนเรือสำราญ พนักงานดูแลการให้บริการบนเครื่องบิน
– พนักงานต้อนรับและบริการในโรงแรม
– งานด้านสื่อสารมวลชน เช่น บรรณาธิการ/ผู้พิสูจน์อักษรประจำโรงพิมพ์/สำนักพิมพ์ นักข่าว
อื่น ๆ เช่น ประกอบธุรกิจส่วนตัวระหว่างประเทศ (ไทย-จีน) เจ้าหน้าที่ประจำตามหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาจีนในการสื่อสาร
สามารถประกอบอาชีพได้หลายอย่าง ทั้งในหน่วยงานรัฐ รัฐวิสาหกิจ เอกชน งานอิสระ ได้แก่
– นักวิชาการทางด้านภาษาไทย ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
– ครูสอนภาษาไทย (ต้องเรียนต่อ ป.บัณฑิตวิชาชีพ เพิ่มเติม)
– บุคลากรทางการศึกษา
– กองบรรณาธิการ/ เจ้าหน้าที่สำนักพิมพ์
– เลขานุการ/เจ้าหน้าที่ประสานงาน
– นักประชาสัมพันธ์/นักสื่อสารมวลชน
– อาชีพอิสระ
1) พนักงานในหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องกับภาษาอังกฤษ
2) พนักงานอุตสาหกรรมบริการ
3) นักแปล
4) นักวิชาการอิสระ
5) พนักงานบริการด้านการท่องเที่ยว
1.พนักงานในธุรกิจบริการต่างๆ เช่น โรงแรม รีสอร์ท สนามบิน สายการบิน เรือท่องเที่ยว หรือภัตตาคาร ธุรกิจบริการอาหารและเครื่องดื่ม
2. พนักงานในหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ บริษัทเอกชน บริษัทสื่อสารมวลชน หรือสถาบันการเงิน เช่น นักวิชาการ อาจารย์ นักวิจัย
3. ประกอบอาชีพอิสระ เช่น ผู้ประกอบการ นักแปล ล่าม
นักดนตรี, นักร้อง, ผู้ประพันธ์เพลง, ผู้เรียบเรียงเสียงประสาน, นักวิชาการดนตรี, ผู้ฝึกสอนดนตรี, ผู้ควบคุมวงดนตรี, ผู้ควบคุมห้องบันทึกเสียง, ผู้ประกอบการ/ผู้จัดการ/เจ้าของกิจการธุรกิจเกี่ยวกับดนตรี, ผู้ประกอบการ/ผู้จัดการ/เจ้าของกิจการสถาบัน/โรงเรียนสอนดนตรี
1) นักวิชาการด้านศิลปวัฒนธรรมในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
2) ศิลปิน นักแสดง
3) ผู้ประกอบการ/ผู้จัดการ/เจ้าของกิจการธุรกิจเกี่ยวกับนาฏศิลป์
4) บุคลากรทางการศึกษา
5) ผู้ประกอบการ/ผู้จัดการ/เจ้าของกิจการสถาบัน/โรงเรียนสอนนาฏศิลป์
6) นักพัฒนา สร้างสรรค์ และอนุรักษ์ทางนาฏศิลป์
7) นักวิชาชีพในสถานประกอบการทางการแสดง
8) รับราชการในหน่วยงานราชการ และรัฐวิสาหกิจ
รับราชการ /หน่วยงานภาครัฐ
1. พนักงานฝ่ายปกครอง ปลัดอำเภอ ปลัดเทศบาล ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลปลัดเทศบาล ข้าราชการและพนักงานส่วนท้องถิ่น
2. นายตำรวจชั้นสัญญาบัตร และนายตำรวจชั้นประทวน / นายทหารชั้นสัญญาบัตร และชั้นประทวน
3. นักวิเคราะห์นโยบายและแผน
4. นักพัฒนาชุมชนและนักพัฒนาสังคม
5. นักทัณฑวิทยา
6. ครูสอนวิชาเอกสังคมศึกษา (ที่มีใบประกอบวิชาชีพครู)
7.เจ้าหน้าที่ศาลปกครอง
8. เจ้าหน้าที่สัสดี
9.นักวิชาการศึกษา
10.นักจัดการงานทั่วไป
ภาคเอกชน
1.นักวิชาการและนักวิจัยอิสระ 2. พนักงานฝ่ายบริหารงานทรัพยากรมนุษย์และฝ่ายบุคคล 3. ผู้บริหารองค์กรอิสระ 4. ผู้ประกอบการธุรกิจ
1.รับราชการในตำแหน่งต่างๆ อาทิ เช่น ปลัดอำเภอ พนักงานคดีปกครอง ตำรวจ พนักงานคุมประพฤติ ทหาร ข้าราชการในสายงานบริหารทั่วไป
2. บุคลากรตำแหน่งต่างๆ ในองค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบลหรือหน่วยราชการส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ในสายงานบริหารทั่วไป บริหารบุคคล นโยบายและแผนพัฒนาชุมชน และสายงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
– ครูสอนวิชาภาษาอังกฤษในทุกสังกัด
– ครูสอนวิชาด้านบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ในทุกสังกัด
– เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานของรัฐ และเอกชน
– นักวิชาการทางด้านการศึกษา
– นักประชาสัมพันธ์
– บรรณารักษ์ เจ้าหน้าที่ห้องสมุด
– นักสารสนเทศ
– เลขานุการ
– ธุรกิจส่วนตัวการศึกษา
ข้าราชการฝ่ายปกครอง ปลัดอำเภอ ปลัดองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น นักการทูตปฎิบัติ การตำรวจรัฐสภา ตำรวจศาล นักส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นักพัฒนาชุมชนนักพัฒนาสังคม นักทัณฑวิทยาฝ่ายปฏิบัติการ นายตำรวจชั้นประทวน นายตำรวจชั้นสัญญาบัตร นายทหารชั้นสัญญาบัตร เจ้าหน้าที่ศาลปกครอง เจ้าหน้าที่สัสดี เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไปของหน่วยงานภาครัฐ